ไตวายระยะสุดท้ายทานเอเจลอูมิเลือดดีขึ้นหมอชม

 


kidney
ปัจจุบันคนไทยป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังประมาณ 8 ล้านคน แบ่งเป็นผู้ป่วยไตในระยะสุดท้ายถึง 2 แสนคน และมีผู้ป่วยไตรายใหม่เพิ่มขึ้นประมาณ 10,000 คนต่อปี 
เป็นสถิติที่น่าตกใจเลยทีเดียวคะ ตอนนี้เรามักจะเห็นคนที่มีปัญหาโรคไตเป็นคนใกล้ตัวเรามากขึ้นใช่ไหมคะ

#โรคไตวายเรื้อรัง
เกิดได้จาก การทานยาประเภทต่างๆเช่นยาแก้อักเสบ ยาไข้หวัดลดน้ำมูก ยาแก้แพ้ ยาควบคุมความดัน และ อาหารเสริมบางชนิดเช่นประเภทผงหรือพวกสมุนไพรที่มีธาตุอาหารสูงแต่มีผลต่อการทำงานของไต ดังนั้นผู้ที่ทานยาประจำตัวก็มีโอกาสเสี่ยงนะคะ ผู้ที่มีโอกาสเสี่ยงอีกประเภทที่จะเป็นโรคไตคือเป็นผู้ที่มีบุคคลในครอบครัวป่วยเป็นโรคไต ผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคลูปัส โรครูมาตอยด์ และโรคเก๊าท์ แม้กระทั่งการทานอาหารที่มีรสเค็มหรือมีโซเดียมสูงเช่นพวกขนมปังก็มีผลกับไตนะคะ

#โรคไตวายเฉียบพลัน เกิดจากโรคที่ทำให้ไตเสื่อมอย่างรวดเร็ว เช่น ภาวะที่ทำให้เลือดไปเลี้ยงไตน้อยลง เช่นการเสียเลือดจากอุบัติเหตุ ท้องเสียและขาดน้ำรุนแรง ภาวะไตอักเสบอย่างรุนแรง ภาวะทางเดินปัสสาวะอุดตันเฉียบพลัน แบบนี้จำเป็นต้องรักษาด้วยการปลูกถ่ายเปลี่ยนไต ผู้ป่วยต้องได้รับการตรวจร่างกายและประเมินอย่างละเอียดทั้งผู้ให้และผู้รับ ผู้เปลี่ยนไตให้ระวังเรื่องการติดเชื้อ ผู้ป่วยหลังปลูกถ่ายเปลี่ยนไตเรียบร้อยแล้วยังคงต้องรับประทานยากดภูมิคุ้มกันตลอดเวลาที่มีไตอยู่ เพื่อป้องกันไม่ให้ร่างกายต่อต้านอวัยวะที่ปลูกถ่ายคะ

โรคไตในระยะเริ่มต้นอาจไม่มีอาการหรืออาการไม่ชัดเจน มักเกิดอาการให้เรารู้เมื่อการทำงานของไตเสื่อมไปมาก

อาการที่แสดงออกมาจะสังเกตุได้จาก
-การเบื่ออาหาร

-แขนขาบวมตาบวม

-คลื่นไส้อาเจียน 

-ท้องเสีย 

-อ่อนเพลียไม่มีแรง 

-ง่วงซึม หลับง่าย

-ขาดสมาธิ

-ปัสสาวะเป็นฟอง 

-ปัสสาวะน้อยลงเวลากลางวัน ตื่นมาปัสสาวะบ่อยเวลากลางคืน

-ผิวหนังแห้งคัน

-สีผิวคล้ำ

โรคไตในระยะที่ 1-3 ยังสามารถควบคุมอาการไม่ให้เป็นมากขึ้นได้ แต่หากคุมอาหารไม่ได้แล้วผู้ป่วยโรคไตยังมีทางออกในการรักษาโรคอยู่ 3 วิธีดังนี้คะ 

-การล้างไตผ่านหน้าท้อง
-การฟอกเลือด
-การผ่าตัดเปลี่ยนไต

การฟอกเลือด

แพทย์จะผ่าตัดเชื่อมหลอดเลือดที่แขน ต้องเตรียมตัวล่วงหน้าอย่างน้อย 1-6 เดือนก่อนทำการฟอกเลือด ผู้ป่วยจะต้องมาที่ศูนย์ไตเทียมสัปดาห์ละ 2-3 ครั้งเป็นอย่างน้อย พยาบาลของศูนย์ไตเทียมจะแทงเส้นที่แขนเพื่อนำเลือดออกจากตัวผู้ป่วยไป เข้าเครื่องฟอกเลือดเครื่องจะทำหน้าที่กำจัดของเสียและน้ำออกไปปรับสมดุลกรดด่างและเกลือแร่ในร่างกาย ใช้เวลาในการฟอกเลือดอย่างน้อย 3-5 ชั่วโมง 

โรคไตระยะุดท้ายจะเป็นโรคต้องระวังให้มาก การเป็นโรคไตหรือโรคอื่นๆ ย่อมมีผลกระทบกับความสุขและคุณภาพชีวิตในแต่ละวัน ลองหันมาใส่ใจสุขภาพกันมากขึ้น จะดีแค่ไหนหากระยะทางในอีกหลายสิบปีข้างหน้าของคุณจะเต็มไปด้วยพลังและสุขภาพที่สมบูรณ์พร้อมรับกับทุกสถานการณ์ของช่วงชีวิต


ทางเลือกของผู้ป่วยไตวาย

เคสตัวอย่างเคสนี้ล้างไตอยู่แล้วคะแต่ก็ยังเกิดปัญหาต่อเนื่อง จึงสนใจที่มาดูแลสุขภาพเพิ่มขึ้น เคสนี้มีอาการหลังการล้างไตทุกครั้ง เหนื่อยเพลียลุกไม่่ขึ้น ความเข้มข้นเลือดเลือดลดลง ทานเอเจลอูมิไปสิบกว่าวันความเข้มข้นเลือดจาก27%เพิ่มเป็น37% ไม่เหนื่อยหอบ คุณหมอชมเลยคะ 

re-ki-u