#ปวดตามข้อกันบ้างไหม?
การป้องกันย่อมดีกว่าการรักษา ประโยคนี้เห็นทีจะเป็นเรื่องจริงไปตลอดกาล การเจ็บปวดจากอาการปวดข้อทั้งสองชนิด คงไม่มีใครต้องการ เพราะทุกความปวด ไม่สุขสบายที่เกิดขึ้น ส่งผลกับจิตใจและส่งผลกับความรู้สึกเป็นห่วงของคนรอบข้างที่ดูแลไปด้วย หลายคนอาจจะยังแยกโรคทั้งสองนี้ไม่ออก หรือบางคนอาจจะเข้าใจผิดว่าคือโรคเดียวกัน เรามาทำความเข้าใจถึงความเหมือนหรือความต่างของทั้งโรคเก๊าท์และโรครูมาตอยด์กัน และที่สำคัญที่สุดหากใครที่ป่วยเป็นโรคใดโรคหนึ่งแล้วเราจะฟื้นฟูหรือป้องกันได้อย่างไร และโรคนี้ทำให้เรากลายเป็นคนทุพพลภาพได้อึกด้วย
โรคเก๊าท์ gout | โรครูมาตอยด์ Rheumatoid โรคออโต้อิมมูน/ภูมิแพ้เนื้อเยื่อตนเอง | |
ความหมายของโรค | โรคเก๊าท์เป็นการอักเสบของข้อฉับพลัน
เป็นอยู่ประมาณ 5-10 วัน เป็นๆ หายๆรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ |
โรครูมาตอยด์มีการอักเสบของทุกระบบบริเวณเยื่อบุข้อ เยื่อบุเส้นเอ็น ตา เส้นประสาท กล้ามเนื้อ ปอด หรือมีตุ่มขึ้นตามตัวได้
โรคนี้จะ มีการเจริญของเยื่อบุข้อ อย่างมากจนทำให้เกิดการลุกลาม และทำลายกระดูกในที่สุด |
สาเหตุของโรค | โรคเก๊าท์
1.เกิดจากระดับกรดยูริกในเลือดสูง และสะสมมานาน 2.ไตขับกรดยูริคได้ช้าหรือน้อย 3.ร่างกายสร้างกรดยูริคมากเกินไป จากอาหารประเภทเนื้อสัตว์ เครื่องในสัตว์และข้าวสาลี 4.กรรมพันธุ์ และโรคพันธุกรรม 5.มักเป็นผู้ชายที่มีอายุเกิน 40 ปี สะสมกรดยูริคมานาน ในผู้หญิงมักจะเป็นหลังหมดประจำเดือน 6. โรคที่เสี่ยงมากขึ้น โรคอ้วน โรคเบาหวานไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดแข็งผิดปกติ ผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากสารตะกั่ว โรคไตวายเรื้อรัง และโรคเลือดบางชนิด 7. การดื่มเหล้าเบียร์ หรือเครื่องดื่มผสมแอลกอฮอล์ 8. ยาที่เพิ่มความเสี่ยงของโรคแอสไพริน ยาขับปัสสาวะกลุ่ม ยารักษาโรค พาร์กินสัน ยากดภูมิคุ้มกัน |
โรครูมาตอยด์
1.การติดเชื้อบางชนิด 2.พันธุกรรม 3.การสูบบุหรี่สามารถเพิ่มความเสี่ยงที่จะเกิดโรค 4.ดื่มชากาแฟ |
อาการของโรค | โรคเก๊าท์
1. อาการปวด บวมแดง ร้อนบริเวณ รอบๆข้อ อาการเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ครั้งแรกมักเกิดตอนกลางคืน อาการปวดเกิดขึ้นแม้ว่าจะอยู่เฉยๆ 2. อาการมักเกิดทีละข้อไม่กระจายไปยังข้ออื่นๆ ถ้าเป็นเรื้อรังจะเป็น2-3ข้อ 3.เป็นที่ ข้อเข่า ข้อเท้า ข้อต่อของกระดูกเท้า ข้อต่อของกระดูกมือ ข้อมือ และข้อศอก พบบ่อยที่ข้อโคนนิ้วหัวแม่เท้าข้อที่เป็นน้อย ข้อไหล่ข้อสะโพก และข้อสันหลัง 4. อาจมีอาการไข้ อ่อนเพลีย หนาวสั่น 5. อาการอาจหายไปภายในสองสามชั่วโมงหรืออยู่นานเป็นสัปดาห์ อาการข้ออักเสบอาจไม่เกิดขึ้นอีกแต่ทิ้งช่วงเป็นเวลานานถึงปีได้เมื่อมีอายุสูงขึ้น อาการเหล่านี้จะเกิดถี่เจ็บปวดทรมานคงอยู่นานกว่าจะบรรเทาลง |
โรครูมาตอยด์
1.ระยะแรกจะมีอาการอ่อนเพลีย ปวดตามข้อต่าง ๆ ฝืดขัดเนื่องจาก เนื้อเยื่อบุข้อหนาตัว มักเป็นตอนเช้า 2.เมื่ออาการชัดเจน ข้อจะบวม ร้อน และปวด 3.อาการแบบเฉียบพลันรุนแรง มีไข้ เบื่ออาหาร น้ำหนักลด คนที่เป็นรุนแรงจะมีอาการทาง ตา ปอดหรือมีตุ่มตามตัวได้บางรายเป็นรุนแรงจนเส็นเอ็นขาดได้ ปวดบวมกดเจ็บตามข้อมือ ข้อโคนนิ้วมือข้อเข่า ข้อเท้าพร้อมกัน อาการอาจเกิดนานเกิน6 สัปดาห์ มีอาการ ข้อฝืด ข้อแข็ง ไม่สามารถขยับตัวได้สะดวก ในเวลาเช้าหลังตื่นนอนและจะต้องใช้เวลาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง ถึงจะเริ่มขยับข้อต่าง ๆได้มีอาการแทรกซ้อนอื่น ๆ ร่วมด้วย เช่นเบื่ออาหาร กล้ามเนื้ออ่อนแรง ปวดเมื่อยทั้งตัว มีไข้ต่ำ ๆ น้ำหนักลด ต่อมน้ำเหลืองและหลอดเลือดอักเสบ และโลหิตจาง |
การวินิจฉัยโรค | โรคเก๊าท์
1. ซักถามประวัติอาการ และตรวจร่างกายทั่วไป 2. ตรวจระดับของกรดยูริคในเลือด 3. ตรวจสารน้ำในข้อ พบผลึกของกรดยูริคผลึกเป็นรูปเข็มพบภายในเซลล์ 4. ในวินิจฉัยโรคเก๊าท์ ต้องแยกโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ ใช้การเจาะข้อและตรวจสารน้ำในข้อ 5. วินิจฉัยแยกจากโรคเก๊าท์เทียม |
โรครูมาตอยด์
1. ซักถามประวัติอาการ และตรวจร่างกาย 2.การตรวจเลือด 3.การตรวจน้ำในข้อ 4.การถ่ายภาพรังสี
|
การักษาโรค | โรคเก๊าท์
1. ให้ยารักษาอาการข้ออักเสบ (ผลึกของกรดยูริคยังคงอยู่ภายในข้อ) อาจก่อให้เกิดการอักเสบขึ้นอีกได้ 2. ให้ยาแก้อักเสบขนาดต่ำอย่างต่อเนื่องป้องกันไม่ให้เกิดการอักเสบ 3. รักษาภาวะกรดยูริคสูงในเลือดและป้องกันไม่ให้โรครุนแรงมากขึ้น 4.การพักผ่อน 7.ประคบด้วยความเย็น |
โรครูมาตอยด์
1.ใช้ยา เพื่อควบคุมอาการหรือยับยั้งไม่ให้ข้อถูกทำลายมากขึ้นแต่ก็ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกินไป เพราะอาจจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่อันตราย เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ต้อกระจก กล้ามเนื้ออ่อนแรง และกระดูกผุ 2.การผ่าตัด 3.การพักผ่อนและบริหารร่างกาย ไม่ควรออกกำลังกายหนักเกินไป เพราะจะยิ่งกระตุ้นอาการปวด 4.กายอุปกรณ์ ช่วยในการเคลื่อนไหว ของร่างกาย 5.ใช้สมุนไพรรักษา เช่นฟ้าทะลายโจร กำยานหรือขมิ้นชัน |
การป้องกัน | โรคเก๊าท์
1.เลี่ยงภาวะอ้วน ไขมันสูง ไตรกลีเซอไรด์สูงลดการทานเครื่องในสัตว์ อาหารทะเล ถั่วต่างๆ แอลกอฮอล์ ย่อมทำให้เกิดอาการข้ออักเสบได้
|
โรครูมาตอยด์
1.รักษาสุขภาพให้แข็งแรง 2.ออกกำลังกายเป็นประจำสม่ำเสมออย่างน้อย20นาทีต่อวัน 3.ทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อเพิ่มภูมิและรักษาสมดุลของภูมิคุ้มกันร่างกาย |
อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง | โรคเก๊าท์
1.เห็ด 2.สัตว์ปีก 3.เครื่องใน 4.ปลา ไข่ปลา ปลาไส้ตัน ปลาซาร์ดีน 5.กุ้ง 6.ชะอม กระถิน สะเดา 7.กะปิ 8.น้ำต้มกระดูก ซุปก้อน |
โรครูมาตอยด์
1.เนื้อแดง 2.ไขมันโอเมก้า3 ไขมันโอเมก้า6 3.น้ำตาลและแป้งขัดขาว 4.อาหาก้อนรทอด 5.โปรตีนกลูเตน เช่นข้าวสาลี ข้าวไรย์ และข้าวบาร์เลย์ 6.แอลกอฮอล์ 7.อาหารแปรรูป 8.พืชตระกูลมะเขือ มะเขือทุกชนิด มันฝรั่ง 9. นมวัว นมแพะ ข้าวโพด ไข่ และผลไม้ตระกูลส้ม |
มีหลายต่อหลายคนที่เลือกวิธีฟื้นฟูสุขภาพด้วยสารอาหารชนิดเจลซึ่งได้ผลดีเป็นที่น่าพอใจ เพราะสรรพคุณที่ดีในเอเจลและการดูดซึมที่ดีทำให้ร่างกายที่มีปัญหาจากทั้งโรคเก๊าท์และโรครูมาตอยด์ได้รับการฟื้นฟู ความน่าวิตกกังวลในเรื่องนี้หลักๆคือหากเราปล่อยให้ร่างกายเสื่อมอย่างต่อเนื่องโอกาสที่เราจะเกิดความผิดปกติกับอวัยวะ มือเท้าอักเสบหงิกงอผิดรูป จนใช้งานไม่ได้ก็จะตามมาอย่างแน่นอน
มาทำให้สุขภาพเสื่อมเป็นสุขภาพดีฟื้นฟูตั้งแต่เริ่มต้นตั้งแต่วันนี้กัน มีตัวอย่างการใช้ผลิตภัณฑ์สารอาหารดูแลสุขภาพด้วยเอเจลกันนะคะ
ตัวอย่าง ในเรื่องการลดกรดยูริคในเลือดในเรื่องเก๊าท์/และการลดค่าคริเอตินีนในโรคไต
ตัวอย่าง การลดค่ายูริคอย่างต่อเนื่องการออกกำลังกายควบคุมอาหารและการทานสารอาหารบำบัดโรคเก๊าท์ทำให้ค่ากรดยูริคลดลงได้เร็วจาก10.1ลดลงเหลือ5.4
ตัวอย่าง โรครูมาตอยด์ทานเอเจลเพื่อเพิ่มภูมิต้านทานอย่างต่อเนื่อง จนร่างกายแข็งแรงหายปวด
ตัวอย่าง โรครูมาตอยด์ทานเอเจลเพื่อเพิ่มภูมิต้านทานอย่างต่อเนื่อง จนร่างกายแข็งแรงหายปวด
ฟื้นฟูและป้องกันโรคเก๊าท์UMI+GRN /ฟื้นฟูและป้องกันโรครูมาตอยด์UMI+MIN/
ราคาผลิตภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์เอเจล UMI จากราคาปกติ 4500 บาทราคาพิเศษเหลือ 3050 บาท
ผลิตภัณฑ์เอเจล GRN จากราคาปกติ 3700 บาทราคาพิเศษเหลือ 2700 บาท
ผลิตภัณฑ์เอเจล MIN จากราคาปกติ 3700 บาทราคาพิเศษเหลือ 2700 บาท